Chanutaporn
วันศุกร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2562
โปรแกรมระบบงานปกครอง-รูดบัตร สามารถตอบสนองต่อระบบดูแล นักเรียน/นักศึกษา ได้เป็นอย่างดีเป็นฐานข้อมูลสถิติสนับสนุนการบริหารจัดการ เช่น
นร./นศ. วันนี้ มาสายกี่คน คิดเป็นกี่ %
นร./นศ. วันนี้ ขาดเรียนกี่คน คิดเป็นกี่ %
ครูที่ปรึกษาได้ติดตาม และรายงานสาเหตุของการขาดเรียนนักเรียนรายคนแล้วหรือไม่
คะแนนความประพฤติของ นร./นศ. ถูกหักไปแล้วกี่คะแนน เหลือกี่คะแนน ฯลฯ
ความน่าเชื่อถือ และการรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
เนื่องจากระบบสารสนเทศ Mis-School นี้ จัดทำขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา และพัฒนาโรงเรียน โดยความร่วมมือ ระหว่างผู้บริหารโรงเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจด้านไอที ว่าสถิติข้อมูลสารสนเทศด้านใดบ้าง ที่จะมาช่วยการบริหารจัดการ และลดความซ้ำซ้อนในการทำงานของบุคลากร และโปรแกรมเมอร์ที่ทำงานพัฒนาโปรแกรมอยู่ในสถานศึกษา มากกว่า 10 ปี
โดยระบบงานสารสนเทศ Mis-School เริ่มตั้งแต่ งานวิชาการ การจัดหลักสูตร แผนการสอน ตารางสอน เพื่อเตรียมเปิดรับสมัครนักเรียน/นักศึกษา มาสมัครเรียน, การเงินรับสมัคร, งานบุคลากรครูและสายสนับสนุน, งานทะเบียนออกรหัส ลงทะเบียน ประมวลผล ออก รบ.1-2, ครูผู้สอนประเมินผลการเรียนตัดเกรด, งานปกครอง-รูดบัตร ตรวจสอบความประพฤติ, นักเรียนรูดบัตร ตรวจสอบผลการเรียน, งานบริหารจัดการห้องสมุด, งานสืบค้นสื่อสิ่งพิมพ์ห้องสมุด รายงานการประกันคุณภาพประจำปี ฯลฯ
วัตถุประสงค์
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการโรงเรียน มีวัตถุประสงค์ในการจัดทำขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาในการบริหารจัดการโรงเรียน โดยระบบสารสนเทศจะต้องตอบสนองแสดงผลสรุป สถิติข้อมูล เพื่อสนับสนุนผู้บริหารโรงเรียน ในการแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที ต้องมีหน้าตาและการใช้งานที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน มีความแม่นยำ ลดคน ลดกระดาษ ได้รับความเชื่อถือ ยอมรับทั้งจากผู้ใช้งาน คณะครู ผู้บริหาร และนักเรียน/นักศึกษา ทั้งยังต้องครอบคลุมการบริหารจัดการทุกด้านของการบริหารโรงเรียน ปัจจุบันได้พัฒนาให้สอดคล้องต่องานประกันคุณภาพ สมศ. โดยสามารถจัดพิมพ์เป็นรายงาน SAR ประจำปีการศึกษา ตามข้อกำหนดของ สช. ได้อย่างถูกต้อง
ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ Management Information System School (Mis-School) นี้ใช้เวลามากกว่า 5 ปี และผ่านการทดลองใช้ร่วมกันหลายโรงเรียน เพื่อพัฒนาความยืดหยุ่น ในแง่ของความแตกต่าง ของโรงเรียนแต่ละรายโรง ทำให้มีความน่าเชื่อถือ มากกว่าการจ้างโปรแกรมเมอร์ มาเขียนโปรแกรมให้โรงเรียน ซึ่งเป็นปัญหาของหลายโรงเรียน ทั้งเรื่องของการใช้ระยะเวลาในการพัฒนามาก และยังต้องทดลองใช้เพื่อแก้ไขบัคของโปรแกรม อีกทั้งวันดี คืนดี โปรแกรมเมอร์ลาออก หรือสอบได้ที่อื่น ถูกซื้อตัวไป ทิ้งงานไป สร้างความปวดเศียร เวียนเกล้า ให้กับผู้บริหารและเจ้าของโรงเรียนเป็นอย่างยิ่ง โปรแกรมที่มีความซับซ้อนขนาดใหญ่ของโรงเรียน ทางเราไม่ขอแนะนำให้จ้างโปรแกรมเมอร์เขียนเอง ดังเหตุผลข้างต้น
# #5278612639 : MAJOR SPORTS SCIENCE
KEYWORDS : ANAEROBIC THRESHOLD / THE ANAEROBIC THRESHOLD TRAINING PROGRAM/ MALE TENNIS ATHLETES
THATCHANIT WERASIRIWAT: THE EFFECT OF TRAINING PROGRAM DEVELOPMENT ON ANAEROBIC THRESHOLD IN MALE TENNIS ATHLETES.ADVISOR : ASST. PROF. CHALERM CHAIWATCHARAPORN,Ed.D, 86 pp.
The purpose of this research was to study the effect of training program development on anaerobic threshold (AnT) by comparing result before and after training in tennis athletes. The subjects were 12 male tennis athletes who had at least 5 years playing tennis experiences from Burapha University They were sampled by purposive random sampling. All subjects were trained with AnT training program. The AnT training program was interval exercise training and divided into 2 phases which performed 2 times a week for 3 weeks.The AnT was assessed by gas exchange analysis which based on V-slope method. The AnT showed results as heart rate and oxygen consumption at the AnT. The analyzed in term of means, standard deviation, percentage and t-test was used to determine the significant differences.
Research results indicated that the heart rate at the AnT was significant difference increased at the .05 level , there were increased 16.09 %. The oxygen consumption at the AnT was significant difference increase at the .05 level. there were increased 102.01%. The maximal oxygen at the Ant was significant difference increase at the .05 level, there were increased 69.80 %.
Conclusion the AnT training program can increase the AnT in male tennis athletes.
Thesis title: The
Development of a Critical Thinking Test for Mathayom Suksa III Students in
School under the Office of Chanthaburi Educational Service Area 2
School under the Office of Chanthaburi Educational Service Area 2
Researcher: Miss
Sarinee Kaisangkatee; ID: 2472500364;
Degree: Master of
Education (Educational Administration);
Thesis advisors: (1) Dr.Vandee Sangprateeptong, Associate Professor; (2) Dr. Ratchaneekool Pinyopanuwat, Associate Professor; Academic year: 2007
Abstract
The objectives of this study were
(1) to develop a critical thinking test for Mathayom Suksa III students in
schools under the Office of Chanthaburi
Educational Service Area 2; and (2) to verify the critical thinking test for Mathayom Suksa III students in
schools under the Office of Chanthaburi Educational Service Area 2.
The sample
consisted of 800 Mathayom Suksa III students in schools under the Office of Chanthaburi
Educational Service Area 2, obtained by multi-stage sampling. The employed
research instrument was a critical thinking
test comprising 48 items for Mattayom Suksa III students.
Content validity of the developed test was verified by the item-objective
congruency (IOC) index. Each item’ s difficulty level and discriminating power
were verified with the difficulty index and discriminating index. Its construct
validity was verified by confirmatory factor analysis (CFA). Its reliability
was verified by calculation of Kuder- Richardson 20 (K-R 20) formula.
Research findings were
as follows: (1) The developed a critical thinking test contained 48 items for
assessment of six factors each of which required 8 items. The six factors under
assessment were interpretation, analysis, evaluation, inference, explanation,
and self-regulation. (2) Content validity of the test as shown by the IOC index
ranged from .71 to 1.00. Its difficulty indices were in the range of .37 to .75
and its discriminating indices were in the range of .23 to .78 Its construct
validity was at the good level as shown by all six factors being significant at the .05 level
with the chi-square goodness of fit test
at 7.48; p = .35, df =7, GFI = 1.00, AGFI = .99 and CFI = 1.00.
Reliability indices of the test were as follow: .68 for
interpretation, .70 for analysis, .70 for evaluation, .74 for inference, .73
for explanation, .75 for self- regulation, and .94 for the whole test. As for
the test norm, the normalized T-scores were in the range of T12 to T74
Keywords: Test development, Critical thinking test, Mathayom Suksa
เด็กไทยไม่รู้หลักภาษาไทย
บทความ
เด็กไทยไม่รู้หลักภาษาไทย
คำผวน คำแปลกๆ ที่ไม่ถูกกาลเทศะ คำหยาบคาย หรือการนำภาษาต่างประเทศมาผสมกับภาษาไทยกลายเป็นคำแปลกที่ไม่มีความหมาย และผิดหลักเกณฑ์ แต่กลับคิดว่าเป็นคำที่ถูกต้อง ซึ่งทำให้การใช้ภาษาไทยมีแต่วิบัติและไม่ถูกต้องมากขึ้น ทำให้การสื่อสารในสังคมไทยยิ่งขาดสติ ไม่รู้จักคิดรู้จักฟังให้มากขึ้น
นับเป็นความกังวลเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเรื่อง นอกเหนือจากที่เคยแสดงความห่วงใยกรณีที่ผลการวิจัยและผลสำรวจของหลายสถาบัน รวมไปถึงสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า คนไทยอ่านหนังสือน้อยมาก ปีละไม่ถึง 10 บรรทัดด้วยซ้ำไป จนเป็นสาเหตุสำคัญทำให้เด็กไทยไม่รู้ประวัติศาสตร์ พลอยทำให้ไม่มีความรักและความภูมิใจในความเป็นชาติและวัฒนธรรมของไทย
เป็นที่น่าสังเกตว่าการแสดงความห่วงใยเรื่องการเขียนและการอ่านของเด็กไทยมักจะมีขึ้นเนื่องในโอกาสวันภาษาไทยแห่งชาติ ซึ่งตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี จากนั้นไม่นานนัก ความห่วงใยก็จะค่อยๆ เงียบหายกลายเป็นคลื่นกระทบฝั่ง จนขาดความต่อเนื่องที่จะสานต่อการรณรงค์ให้เด็กไทยมีความรู้และรักการอ่านมากขึ้น และมีแต่ตอกย้ำจุดอ่อนของสังคมไทยที่ขาดความใฝ่ใจที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆ ทั้งในตำราเรียนและนอกตำราเรียน จนทำให้รู้ผิดๆ ถูกๆ หรือรู้ๆ ครึ่งๆ กลางๆ อันอาจจะเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือตกเป็นเครื่องมือทางการเมืองได้ง่าย
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดก็คือการรู้แค่ครึ่งๆ กลางๆ ว่าสมุนไพรฟ้าทะลายโจรสามารถช่วยรักษาไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ได้ แต่ขาดความเข้าใจที่ถูกต้องในสรรพคุณของสมุนไพรชนิดนี้ ทำให้ไม่รู้ว่าตำรายาแผนโบราณ ห้ามกินสมุนไพรชนิดนี้ติดต่อกันเกิน 7 วัน ไม่เช่นนั้นจะเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน เช่น ตับ ได้
เราเชื่อว่าโครงการรณรงค์ระยะยาว ไม่ใช่แค่การรณรงค์ให้เด็กไทยรู้จักการเขียน-อ่านและใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องตามหลักภาษาเท่านั้น แต่ต้องทำควบคู่ไปกับการกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนของสังคม ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานราชการ ตระหนักว่าเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องร่วมกันเป็นแบบอย่างอันดีให้แก่เด็กไทย ดังที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ให้ข้อคิดว่าจะต้องร่วมกันหาทางให้เกิดความสมดุล ระหว่างการอนุรักษ์ภาษาให้คงไว้ กับวิวัฒนาการของภาษาให้คงความเป็นไทย ไม่ใช่เพียงแค่อนุรักษ์และส่งเสริมเด็กไทยให้สามารถเขียน-พูดได้อย่างถูกต้องเท่านั้น
ภาษาไทยกับวัยรุ่นไทย
บทความ ภาษาไทยกับวัยรุ่นไทย
สังคมเราในปัจจุบันนี้โลกเราได้มีเทคโนโลยีมาเกี่ยวข้องอย่างมากในชีวิตของคนไทยเรา ทำให้มีความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวันรวมทั้งการสื่อสารด้วย ซึ่งในประเทศไทยนี้เยาวชนยุคใหม่บางส่วนได้นำค่านิยมผิด ๆ มาใช้กัน นั้นก็คือการใช้ภาษาไทยที่ผิด โดยเยาวชนกลุ่มนั้นคิดว่าเมื่อใช้แล้วมันเก๋ดี มันเท่ห์ดี แต่หารู้ไม่ว่าอาจจะทำให้ภาษาไทยของเราเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิงและทำให้เยาวชนยุคหลังๆใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องตามไปด้วย ประเทศไทยของเรามีภาษาเป็นของตนเองแสดงออกถึงความเป็นเอกราชและความภาคภูมิใจของคนไทยเรา ภาษาไทยเป็นมรดกของคนไทยมายาวนาน แต่เยาวชนยุคบางส่วนใหม่กลับไม่รู้คุณค่าของมันเลย
การใช้ภาษาไทยที่ผิด ๆ ของวัยรุ่นนั้นเป็นสิ่งที่จะทำให้ภาษาไทยวิบัติลงไปจริง ๆ ซึ่งจะเห็นได้จากที่วัยรุ่นใช้สื่อสารกันทาง msn เช่นคำว่า ทามอะไรอยู่-ทำอะไรอยู่ เปนอะไร-เป็นอะไร เพราะคำเหล่านี้ทำให้พิมพ์ง่าย สื่อสารกันได้เร็ว และดูเก๋ด้วย แต่ถ้าคิดอีกแง่มุมหนึ่ง การที่ภาษาไทย 1คำ สามารถเขียนได้หลายแบบ เพราะภาษาไทยมีพยัญขนะที่ออกเสียงเหมือน ๆ กัน มีสระที่เสียงคล้าย ๆ กัน จึงทำให้สามารถเขียนออกมาได้หลายแบบ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษาไทยนั้นสามารถดัดแปลง เปลี่ยนแปลงคำได้หลากหลาย โดยที่ความหมายเหมือนเดิม แต่ลักษณะการเขียนผิดออกไป เป็นเสมือนการสร้างคำ สร้างภาษให้มีการวิบัติมากขึ้น การใช้คำใช้ภาษาไปผิดๆ ทำให้เป็นการฝึกนิสัยในการใช้ภาษาไทยที่ไม่ถูกต้องตามหลักภาษา และฉันกลาพูดได้เลยว่าวัยรุ่นไทยสมัยนี้เขียนคำ สะกดคำในภาษาไทย ได้ไม่ถูกตามตัวสะกด และเขียนภาษาไทยได้ไม่ถูกต้องตามหลักภาษา พูดไม่ถูกอักขระ ไม่มีคำควบกล้ำ บางคนพูดภาษาไทยไม่ชัดเจนด้วยซ้ำไปและอยากจะยกตัวอย่างการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่นจากความคิดเห็นของดร.นพดล กรรณิกา ว่า เมื่อวันที่ 24 ก.ค. ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจภาคสนาม เรื่อง วันภาษาไทยแห่งชาติ กับสิ่งที่คนไทยต้องการรักษาไว้ในสังคมไทย: กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 2,277 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 17-20 ก.ค. พบประเด็นแรกที่น่าเป็นห่วงคือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 85.3 ไม่ทราบว่า วันภาษาไทยแห่งชาติตรงกับวันใด มีเพียงร้อยละ 14.7 ที่ทราบและตอบถูกว่า วันภาษาไทยแห่งชาติตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี เมื่อสอบถามความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบสำคัญของภาษาไทย พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 84.9 ไม่ทราบว่าภาษาไทยมีสระกี่รูป ร้อยละ 81.2 ไม่ทราบความหมายของร้อยกรอง ร้อยละ 75.0 ไม่ทราบความหมายของร้อยแก้ว ร้อยละ 64.2 ไม่ทราบวรรณยุกต์ในภาษาไทยว่ามีกี่รูป และร้อยละ 11.7 ไม่ทราบว่าพยัญชนะไทยมีกี่ตัว เมื่อถามถึงพยัญชนะภาษาไทยที่สับสนในการใช้มากที่สุด พบว่า ร้อยละ 26.1 ระบุเป็นตัว “ฎ” รองลงมาคือ ร้อยละ 13.6 ระบุ เป็น “ฏ” ร้อยละ 9.8 ระบุเป็น “ร” ร้อยละ 5.8 ระบุเป็น “ฑ” ร้อยละ 4.5 ระบุเป็น “ณ” และร้อยละ 4.5 เท่ากัน ระบุเป็น “ฐ” ตามลำดับ นอกจากนี้ ผลสำรวจพบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.9 มีปัญหาเรื่องเขียนภาษาไทยผิด ร้อยละ 31.9 จับใจความผิด ร้อยละ 29.6 พูดผิด ร้อยละ 27.5 อ่านผิด ร้อยละ 18.6 ฟังผิด เป็นต้น
ส่วนกลุ่มบุคคลที่มีส่วนทำให้เกิดปัญหาในการใช้ภาษาไทย ผลสำรวจพบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 80.6 ระบุคือกลุ่มวัยรุ่น ร้อยละ 46.0 ระบุเป็นกลุ่มนักร้อง ร้อยละ 44.8 ระบุเป็นกลุ่มดารานักแสดง ร้อยละ 18.1 ระบุผู้ดำเนินรายการวิทยุ ร้อยละ 17.2 ระบุเป็นนักการเมือง ร้อยละ 17.2 ระบุเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ ร้อยละ 15.8 ระบุเป็นผู้ประกาศข่าว และร้อยละ 8.9 ระบุเป็นครูอาจารย์ ตามลำดับ ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 92.5 ระบุต้องเร่งแก้ไขอนุรักษ์ฟื้นฟูการใช้ภาษาไทยในช่วงเวลานี้ ในขณะที่เพียงร้อยละ 7.5 ระบุว่าไม่ต้องเร่งแก้ไข เมื่อสอบถามถึงสิ่งที่ต้องรักษาไว้ในสังคมไทย ผลสำรวจพบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 72.2 ระบุเป็นศิลปวัฒนธรรม รองลงมาคือร้อยละ 68.5 ระบุภาษาไทย ร้อยละ 68.1 ระบุเป็นการช่วยเหลือ มีน้ำใจต่อกัน ร้อยละ 60.1 ระบุความกตัญญู รู้จักตอบแทนบุญคุณ ร้อยละ 59.5 ระบุการเคารพผู้อาวุโส ร้อยละ 59.0 ระบุความสามัคคี ร้อยละ 56.9 ระบุความรักชาติ ร้อยละ 54.1 ระบุการให้อภัย และร้อยละ 46.9 ระบุความเชื่อเรื่องบาปบุญคุณโทษและกฎแห่งกรรม ตามลำดับ
ปัญหาการใช้ภาษาไทยของครูและนักเรียน
| |||
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
-
Thesis title: The Development of a Critical Thinking Test for Mathayom Suksa III Students in ...